หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 126 บริษัทได้จัดให้มีกระบวนการตรวจสอบความเพียงพอและเหมาะสมของระบบ การควบคุมภายในเป็นประจำ �ทุกปีจากฝ่ายตรวจสอบภายในที่มีความเป็นอิสระ จากหน่วยงานอื่น ซึ่งฝ่ายตรวจสอบภายในจะตรวจสอบกิจกรรมต่าง ๆ โดยพิจารณา จากตารางอำ �นาจดำ �เนินการและคำ �สั่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงกฎ ระเบียบ และนโยบายและแนวปฏิบัติต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชัน นอกจากนี้ ยังมีการ ตรวจสอบบัญชีโดยผู้ตรวจสอบบัญชีรับอนุญาตทุกไตรมาสและทุกปีตามข้อกำ �หนด ของคณะกรรมการกำ �กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมสรรพากร บริษัทกำ �หนดให้มีการติดตามการปฏิบัติตามนโยบายและแนวปฏิบัติต่อต้าน การทุจริตและคอร์รัปชันอย่างสม่ำ �เสมอผ่านกระบวนการตรวจสอบภายใน ของฝ่ายตรวจสอบภายใน คณะทำ �งานต่อต้านคอร์รัปชันยังมีหน้าที่ทบทวนนโยบายและแนวปฏิบัติต่อต้าน การทุจริตและคอร์รัปชันเป็นประจำ �ทุก 2 ปี หรือตามกำ �หนดที่เห็นสมควรและเหมาะสม เพื่อนำ �เสนอผู้มีอำ �นาจพิจารณาหากมีการปรับปรุง บริษัทได้กำ �หนดแนวปฏิบัติในการแจ้งเบาะแส เพื่อเปิดโอกาสให้บุคลากร ผู้มีส่วนได้เสีย หรือบุคคลภายนอก ได้ให้ข้อมูลต่อบริษัทเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ส่อถึงการคอร์รัปชัน การทุจริต การประพฤติมิชอบของบุคลากร หรือการดำ �เนินการอันควรสงสัยเกี่ยวกับ การฟอกเงิน การบัญชีการเงิน รวมถึงการควบคุมและการตรวจสอบ โดยวิธีปฏิบัติ สามารถดูรายละเอียดได้ที่ แนวปฏิบัติการรายงานผลการตรวจสอบ มีดังนี้ 17.1 ฝ่ายตรวจสอบภายในรายงานผลการตรวจสอบและข้อตรวจพบต่อคณะกรรมการ ตรวจสอบอย่างน้อยไตรมาสละหนึ่งครั้ง 17.2 หากพบประเด็นเร่งด่วน ให้ฝ่ายตรวจสอบภายในรายงานต่อประธานกรรมการ ตรวจสอบโดยตรงทันที 17.3 คณะกรรมการตรวจสอบเป็นผู้ทำ �หน้าที่รายงานผลการตรวจสอบ ต่อคณะกรรมการบริษัทต่อไป 17. กระบวนการตรวจสอบ / การควบคุมภายใน 18. การติดตามและทบทวน 19. การแจ้งเบาะแส CLICK
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=