หลักการกํ ากับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565)
EGGY เป็นลิงที่มีนิสัยร่าเริง กระตือรือร้น กล้าเผชิญกับสิ่งใหม่ๆ และฉลาด จึงทำ �ให้ชอบเรียนรู้และพัฒนาตนเองอยู่เสมอเพื่อให้ เกิดความชำ �นาญและปฏิบัติงานได้ดีและสำ �เร็จ (Promotion of Best Practice and accountability) อีกทั้ง EGGY ยังรักความยุติธรรม ความเท่าเทียม และการปฏิบัติ อย่างเท่าเทียม (Equitable Treatment) รวมถึงมีทักษะการปรับตัวเพื่อ อยู่ภายใต้กติกาเดียวกัน โดยมีโล่วิเศษเป็นอาวุธประจำ �ตัวเอาไว้ ต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมทั้งปวง เพื่อให้ทั้งฝูงอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุขและปลอดภัย EGGY จึงเป็นตัวแทนของการปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณของเอ็กโก เพื่อให้เอ็กโกสามารถดำ �เนินธุรกิจ ให้เติบโตอย่างมั่นคงและยั่งยืนในทุกมิติ (Cr ea t i on o f Long-Term Value)
จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท สารบัญ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักองค์กร และคำ �ขวัญ CG 12 หลักปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ 14 การรับเรื่องร้องเรียน 18 หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี 1. การปฏิบัติตามกฎหมายและกฎระเบียบของบริษัท 82 2. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย 83 3. การป้องกันความขัดแย้งของผลประโยชน์และรายการระหว่างกัน 94 4. การรักษาความลับและการใช้ข้อมูลภายใน 97 5. การรักษาความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ 100 6. การปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา 102 7. การสนับสนุนการแข่งขันอย่างเป็นธรรม 103 8. การเคารพสิทธิมนุษยชน 105 9. การรักษาความปลอดภัยและอาชีวอนามัย 106 10. การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 108 หลักทั่วไป 1. สิทธิของผู้ถือหุ้นและการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน 23 2. การปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสียและการพัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน 29 3. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส 37 4. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 40 จรรยาบรรณธุรกิจ 11 22 76 81 สารจากประธานกรรมการ นิยาม 04 05
• นโยบายต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชัน (ฉบับปรับปรุง ปี 2567) 111 • แนวปฏิบัติต่อต้านการทุจริตและคอร์รัปชัน (ฉบับปรับปรุง ปี 2567) 115 1. การให้หรือรับสินบนและค่าอำ �นวยความสะดวก 115 2. การบริจาคและการให้การสนับสนุน 115 3. การรับบริจาคและการรับการสนับสนุน 116 4. การสนับสนุนทางการเมือง 117 5. การให้ของขวัญและการให้การรับรอง 117 6. การรับของขวัญ การรับรอง และส่วนลดการค้า 118 7. งานทรัพยากรบุคคล 119 8. การจ้างพนักงานรัฐ 120 9. การลงทุนและการค้า 121 10. การจัดซื้อจัดจ้าง 121 11. งานบัญชีการเงิน 122 12. การกู้เงิน การให้ยืมเงิน การก่อภาระผูกพัน 123 13. การป้องกันการฟอกเงิน 124 14. การบันทึกและเก็บรักษาข้อมูล 124 15. การสื่อสาร การอบรม และการเปิดเผยข้อมูล 125 16. การประเมินความเสี่ยง 125 17. กระบวนการตรวจสอบ/การควบคุมภายใน 126 18. การติดตามและทบทวน 126 19. การแจ้งเบาะแส 126 การต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชัน ภาคผนวก 110 127 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 04 นับตั้งแต่การก่อตั้งบริษัทในปี 2535 กลุ่มเอ็กโกดำ �เนินธุรกิจโดยตระหนัก ถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ทุกภาคส่วนมาโดยตลอด และเล็งเห็น ความสำ �คัญของความยั่งยืนของธุรกิจ ซึ่งหมายถึงการดำ �รงอยู่ในระยะยาว โดยได้รับการยอมรับและไว้วางใจจาก ผู้มีส่วนได้เสียและสาธารณชนในฐานะ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนรายใหญ่แห่งแรก ของไทย ดังนั้น กลุ่มเอ็กโกจึงมุ่งมั่นและให้ ความสำ �คัญกับการบริหารจัดการความ ยั่งยืนอย่างเป็นระบบต่อเนื่อง และพัฒนา การดำ �เนินงานอย่างมีจริยธรรมบน พื้นฐานของการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีโดย คำ �นึงถึงความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อให้องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม เจริญเติบโตร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของบริษัท ที่จะเป็น “บริษัทไทยชั้นนำ �ที่ดำ �เนินธุรกิจ พลังงานอย่างยั่งยืน ด้วยความใส่ใจ ที่จะธำ �รงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมและการพัฒนา สังคม” สารจากประธานกรรมการ นายกุลิศ สมบัติศิริ ประธานกรรมการ 1 สิงหาคม 2565 เพื่อแสดงถึงความใส่ใจในการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการบริษัท ได้ทบทวนหลักการกำ �กับดูแลกิจการ ที่ดี จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณธุรกิจ โดยปรับปรุง ให้เหมาะสมกับสถานการณ์การดำ �เนิน ธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับ แนวปฏิบัติที่ดีที่กำ �หนดโดยหน่วยงาน กำ �กับดูแลภายในประเทศและมาตรฐาน ในระดับสากล รวมถึงได้ประกาศใช้ ทั่วทั้งองค์กรให้บุคลากรในกลุ่มบริษัท ทุกคนได้ยึดถือไว้เป็นหลักปฏิบัติที่ดี อย่างเคร่งครัด ซึ่งคณะกรรมการบริษัท เชื่อมั่นว่าการประพฤติปฏิบัติอย่างถูก ต้องเหมาะสมตามแนวทางของหลักการ กำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ธุรกิจจะทำ �ให้กลุ่มเอ็กโกสามารถดำ �เนิน ธุรกิจได้อย่างยั่งยืนตลอดไป
05 นิยาม • เอ็กโก/บริษัท • กลุ่มเอ็กโก • บริษัทย่อย • การร่วมค้า • บริษัทร่วม • ผู้บริหาร • บุคลากร • คู่ค้า • ตลาดหลักทรัพย์ • ก.ล.ต. • ผู้มีส่วนได้เสีย • ความขัดแย้งของผลประโยชน์ • รายงานการมีส่วนได้เสีย • รายงานการถือครองหลักทรัพย์ • บุคคลที่เกี่ยวข้อง • ข้อมูลภายใน • ทุจริต • คอร์รัปชัน • สินบน • ค่าอำ �นวยความสะดวก • การบริจาค • การให้การสนับสนุน • การสนับสนุนทางการเมือง • ของขวัญ • การรับรอง • พนักงานรัฐ • ตัวแทนหรือตัวกลางทางธุรกิจ • พันธมิตรทางธุรกิจ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 06 นิยาม เอ็กโก/บริษัท หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) กลุ่มเอ็กโก หมายถึง บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) บริษัทย่อย การร่วมค้า และ บริษัทร่วม การร่วมค้า หมายถึง กิจการที่เอ็กโกหรือบริษัทย่อย มีอำ �นาจควบคุมร่วม โดยขึ้นอยู่กับสิทธิ และภาระผูกพันตามสัญญาของผู้เข้าร่วม การงานมากกว่าโครงสร้างรูปแบบ ทางกฎหมาย เงินลงทุนในการร่วมค้า รับรู้โดยใช้วิธีส่วนได้เสียในการแสดง งบการเงินรวม บริษัทร่วม หมายถึง กิจการที่เอ็กโกหรือบริษัทย่อย มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำ �คัญ แต่ไม่มี อำ �นาจควบคุมหรืออำ �นาจควบคุมร่วม เงินลงทุนในบริษัทร่วมรับรู้โดยใช้วิธี ส่วนได้เสียในการแสดงงบการเงินรวม ผู้บริหาร หมายถึง กร รมการผู้จัดการ ใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทย่อย หมายถึง กิจการที่เอ็กโกมีอำ �นาจควบคุม ทั้งที่อยู่ในประเทศไทยและต่างประเทศ บุคลากร หมายถึง กรรมการบริษัท กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร พนักงานทุก ระดับ และลูกจ้างทุกประเภท ที่ปฏิบัติ งานในฐานะบุคลากรของกลุ่มเอ็กโก
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 07 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน คู่ค้า หมายถึง บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งดำ �เนิน ธุรกรรมเชิงพาณิชย์กับเอ็กโก เช่น คู่สัญญา หุ้นส่วนทางธุรกิจ ผู้รับจ้าง และ ผู้รับเหมา ตลาดหลักทรัพย์ หมายถึง ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ผู้มีส่วนได้เสีย หมา ยถึ ง ผู้ที่มีส่ วน เ กี่ย ว ข้อ ง กับ กลุ่มเอ็กโกในด้านต่างๆ ทั้งทางตรงและ ทางอ้อมซึ่งรวมถึงผู้ถือหุ้นลูกค้าพนักงาน เจ้าหนี้ หุ้นส่วนทางธุรกิจ คู่ค้า/ผู้รับเหมา/ ผู้รับจ้าง หน่วยงานราชการ/หน่วยงาน กำ �กับดูแล ชุมชน สังคม นักลงทุน สื่อมวลชน องค์กรไม่แสวงหาผลกำ �ไร ความขัดแย้งของผลประโยชน์ หม า ย ถึ ง ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ร ะ ห ว่ า ง ผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ ของเอ็กโกและบริษัทย่อย ซึ่งอาจเป็น ทั้งผลประโยชน์ทางด้านการเงินและ ไม่ใช่การเงินอันเกิดจากการกระทำ � การปฏิบัติหน้าที่ หรือการตัดสินใจ ของตนในฐานะกรรมการ ผู้บริหาร และ พนักงานของเอ็กโกและบริษัทย่อย โดยการกระทำ �หรือการตัดสินใจดังกล่าว อาจทำ �ให้บุคลากรขาดความเที่ยงธรรม ใ นก า ร ตัดสิน ใ จ เ นื่อ ง จ า กยึด เ อ า ผลประโยชน์ของตนเป็นหลัก รายงานการมีส่วนได้เสีย หมายถึง แบบรายงานที่บุคลากรต้อง รายงานให้บริษัททราบถึงการมีส่วนได้เสีย ของตนและของบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่ง เป็นส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้องกับการบริหาร จัดการในกลุ่มเอ็กโกและบริษัทหรือ องค์กรอื่นที่ตนและบุคคลที่เกี่ยวข้อง ดำ �รงตำ �แหน่งผู้ถือหุ้น กรรมการ หรือ ผู้บริหาร เพื่อให้บริษัทมีข้อมูลประกอบ การดำ �เนินงานเพื่อป้องกันความขัดแย้ง ของผลประโยชน์ ก.ล.ต. หมายถึง คณะกรรมการกำ �กับหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 08 รายงานการถือครองหลักทรัพย์ หมายถึง รายงานการถือหุ้นเอ็กโก ของกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้จัดการฝ่าย หรือตำ �แหน่งเทียบเท่าในสายงานบัญชี/ การเงิน สื่อสารองค์กร นักลงทุนสัมพันธ์ และเลขานุการบริษัท รวมถึงบุคคล ที่เกี่ยวข้องของบุคลากรนั้น บุคคลที่เกี่ยวข้อง หมายถึง บุคคลตามนิยามที่กำ �หนดไว้ใน มาตรา 89/1 ของ พ.ร.บ.หลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ซึ่งมีความ สัมพันธ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่งกับ กรรมการดังต่อไปนี้ (ก) บุคคลที่มีอำ �นาจควบคุมกิจการ บริษัทและในกรณีที่บุคคลนั้นเป็น นิติบุคคลให้หมายความรวมถึง กรรมการของนิติบุคคลนั้นด้วย (ข) คู่สมรส บุตร หรือบุตรบุญธรรม ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลตาม (ก) (ค) นิติบุคคลที่บุคคลตาม (ก) หรือ (ข) มีอำ �นาจควบคุมกิจการ (ง) บุ ค ค ล อื่ น ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ต า ม ที่ คณะกรรมการกำ �กับตลาดทุน ประกาศกำ �หนด เมื่อบุคคลใดกระทำ �การด้วยความเข้าใจ หรือความตกลงว่าหากบริษัททำ �ธุรกรรม ที่ให้ประโยชน์ทางการเงินแก่บุคคล ดังกล่าว กรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลตาม (ก) หรือ (ข) จะได้รับประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง ทางการเงินด้วย ให้ถือว่าบุคคลดังกล่าว เป็นบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องสำ �หรับ การทำ �ธุรกรรมนั้น ข้อมูลภายใน หมายถึง ข้อมูลที่ยังมิได้มีการเปิดเผย ต่อประชาชนเป็นการทั่วไป ซึ่งเป็น สาระสำ �คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคา หรือมูลค่าของหลักทรัพย์ ได้แก่ข้อมูล ของบริษัทหรือบุคคลวงในที่น่าจะมี นัยสำ �คัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคา หรือ มูลค่าของหลักทรัพย์ หรือการตัดสินใจ ลงทุน ข้อมูลดังกล่าวรวมถึงข้อมูล เกี่ยวกับกลุ่มเอ็กโก ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอำ �นาจควบคุม หรือผู้บริหารสำ �คัญ ของกลุ่มเอ็กโก ข้อมูลงบการ เ งิน ที่ยังไม่เปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์ หรือข้อมูลเกี่ยวกับโครงการลงทุน ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีความชัดเจนพอสมควร ที่ผู้ลงทุนทั่วไปน่าจะใช้ประกอบการ ตัดสินใจลงทุน
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 09 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน ทุจริต หมายถึง การกระทำ �โดยเจตนาใด ๆ ที่มิชอบด้วยกฎหมาย เพื่อแสวงหา ประโยชน์สำ �หรับตัวเอง หรือผู้อื่น คอร์รัปชัน หมายถึง การให้ เสนอ ให้คำ �มั่น หรือ สัญญาว่าจะให้สินบนทั้งทางตรงและ ทางอ้อม กับเจ้าหน้าที่ตัวแทนหน่วยงาน ทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อให้บุคคล ดังกล่าวกระทำ �หรือละเว้นการปฏิบัติ หน้าที่ หรือเพื่อให้ได้มาหรือรักษาไว้ ซึ่งผลประโยชน์อื่นใดที่ไม่ชอบธรรม คอร์รัปชัน ยังหมายความรวมถึง การรับ หรือเรียกรับสินบนทั้งทางตรงและ ทางอ้อม จากเจ้าหน้าที่ตัวแทน หน่วยงาน ทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อกระทำ �หรือ ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ หรือเพื่อให้ได้มา หรือรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์ที่ไม่ชอบธรรม ทั้งนี้ สำ �หรับการให้และการรับ ตามที่ทำ � โดยสอดคล้องกับกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ข้อบังคับ ขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือจารีตทางการค้านั้น สามารถกระทำ �ได้ สินบน หมายถึง ผลประโยชน์ทั้งที่อยู่ในรูปตัวเงิน หรือมิใช่ตัวเงิน ที่มีจุดประสงค์เพื่อจูงใจ ให้บุคคลหนึ่ง ๆ กระทำ �หรือละเว้น การปฏิบัติหน้าที่หรือเพื่อให้ได้มา หรือรักษา ไว้ซึ่งผลประโยชน์อื่นใดที่ไม่ชอบธรรม ทั้งนี้ สินบนให้หมายความรวมถึง ค่าอำ �นวยความสะดวกด้วย ค่าอำ �นวยความสะดวก หมายถึง ค่าใช้จ่ายอย่างไม่เป็นทางการ ที่มอบให้แก่เจ้าหน้าที่ ตัวแทน หน่วยงาน ทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อให้บุคคล ดังกล่าวดำ �เนินงานตามกระบวนการ เร่งรัดกระบวนการดำ �เนินงานให้เร็วขึ้น หรืออำ �นวยความสะดวกในการปฏิบัติ หน้าที่ตามกิจวัตรของเจ้าหน้าที่ การบริจาค หมายถึง การให้ตัวเงินหรือสิ่งที่มิใช่ ตัวเงินแก่หน่วยงานหรือองค์กรอื่น เพื่อการกุศล หรือเพื่อสาธารณประโยชน์ ในการช่วยเหลือหรือสนับสนุนสังคม ชุมชน หรือผู้ที่เดือดร้อน
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 10 พนักงานรัฐ หมายถึงบุคคลผู้เป็น หรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ หรือที่ปรึกษาที่ปฏิบัติงานในองค์กร รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ ซึ่งมี ตำ �แหน่งหรือเงินเดือนประจำ � และให้ หมายความรวมถึง กรรมการและอนุกรรมการ ของรัฐวิสาหกิจและหน่วยงานของรัฐด้วย ตัวแทนหรือตัวกลางทางธุรกิจ หมายถึง หน่วยงาน องค์กร หรือบุคคล ที่ได้รับมอบหมายหรือว่าจ้าง ให้กระทำ � การเพื่อประโยชน์ของบริษัท พันธมิตรทางธุรกิจ หมายถึง กิจการร่วมค้า ผู้ร่วมทุน คู่ค้า ลูกค้า และผู้ที่เกี่ยวข้องทางธุรกิจอื่น ๆ การให้การสนับสนุน หมายถึง การให้ตัวเงินหรือสิ่งที่มิใช่ตัวเงิน แก่ลูกค้า คู่ค้า ผู้ร่วมทุน หรือบุคคลอื่น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อธุรกิจ ชื่อเสียง ของบริษัท หรือความสัมพันธ์ทางธุรกิจ การสนับสนุนทางการเมือง ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ห้ ก า ร ส นับ ส นุน พรรคการเมือง กลุ่มแนวร่วมทางการเมือง ผู้มีอำ �นาจทางการเมือง รวมถึงผู้ลงสมัคร รับเลือกตั้งทางการเมืองใด ๆ ทั้งที่เป็น ของขวัญ หมายถึง เงินหรือสิ่งที่มิใช่ตัวเงิน ที่นำ � ไปให้เพื่ออัธยาศัยไมตรีและสร้างสัมพันธ์ ที่ดีในโอกาสต่าง ๆ หรือในโอกาสสำ �คัญ ทางธุรกิจ เพื่อเป็นที่ระลึกถึงบริษัท หรือ ระลึกถึงโอกาสสำ �คัญ นั้น ๆ การรับรอง หมายถึงการจัดการกิจกรรมหรือค่าใช้จ่าย สำ �หรับที่พัก การเดินทาง มื้ออาหาร เครื่องดื่ม และสิ่งอื่นใดที่เกี่ยวข้องสำ �หรับ การรับรองทางธุรกิจ การเดินทางไป เยี่ยมชมสถานที่ หรือการศึกษาดูงาน เป็นต้น ตัวเงินหรือมิใช่ตัวเงิน อันหมายความ รวมถึงการให้ยืมหรือบริจาคอุปกรณ์ การให้บริการด้านเทคโนโลยีโดยไม่คิด ค่าบริการ รวมทั้งการโฆษณาส่งเสริม หรือสนับสนุน และ/หรือ การส่งเสริมให้ บุคลากรเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมือง ในนามของบริษัท เพื่อให้ได้มาซึ่ง ค ว า ม ไ ด้ เ ป รี ยบทา ง ธุ ร กิ จ ก า ร ค้ า หรือเพื่อหวังผลประโยชน์เกี่ยวกับงาน ของบริษัทหรือผลประโยชน์ส่วนตัว
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 11 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน • วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยมหลักองค์กร และคำ �ขวัญ CG • หลักปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ • การรับเรื่องร้องเรียน หลักทั่วไปิ ษัทิ ต้ า ำ �ั ด
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 12 บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) หรือ เอ็กโก ดำ �เนินธุรกิจตามแนวทาง การพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งไม่เพียงคำ �นึงถึงผลประกอบการทางการเงินเท่านั้น แต่ยังใส่ใจต่อการธำ �รงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาสังคม ครอบคลุมทั้ง การมีส่วนร่วมสร้างความมั่นคงให้กับระบบไฟฟ้า ร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ให้ยั่งยืน และร่วมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและสังคม เพื่อให้ การประกอบธุรกิจของเอ็กโกดำ �เนินไปในทิศทางเดียวกัน คณะกรรมการบริษัท และฝ่ายบริหารได้ร่วมกันกำ �หนดนโยบายในการประกอบธุรกิจ ดังนี้ เป็นบริษัทไทยชั้นนำ �ที่ดำ �เนินธุรกิจพลังงานอย่างยั่งยืน ด้วยความใส่ใจที่จะธำ �รงไว้ซึ่งสิ่งแวดล้อมและการพัฒนาสังคม พันธกิจ มุ่งมั่นเติบโตอย่างต่อเนื่อง เ พื่อส ร้ า ง มูลค่ า ใ ห้ แ ก่ ผู้ถือหุ้นอย่างยั่งยืน มีความเชื่อถือได้ในการผลิต และให้บริการด้านพลังงาน เป็นสมาชิกที่ดีของสังคม แล ะ ใ ส่ ใ จต่อชุมชน แล ะ สิ่งแวดล้อม 1 2 3 วิสัยทัศน์
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 13 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน ค่านิยมหลักองค์กร คำ �ขวัญ CG P R E A C T ธรรมาภิบาลเป็นกรอบ รับผิดชอบโปร่งใส พัฒนาก้าวไกล เติบใหญ่ยั่งยืน TEAMWORK ทำ �งานเป็นทีม RESULT-ORIENTED มุ่งผลสำ �เร็จของงาน INNOVATION คิดเชิงนวัตกรรม ETHICS & INTEGRITY ซื่อสัตย์ โปร่งใส STAKEHOLDER CONCERNS ใส่ใจผู้มีส่วนได้เสีย Transparency Promotion of Best Practice Responsibility Equitability Treatment Accountability Creation of Long-Term Value
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 14 หลักปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี และจรรยาบรรณธุรกิจ • หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจฉบับนี้มีผลใช้บังคับกับ บุคลากรทุกระดับของเอ็กโกและบริษัทย่อย • ในกรณีของบุคลากรของการร่วมค้าหรือบริษัทร่วม หากบริษัทนั้นมีหลักการ กำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ ให้ปฏิบัติตามหลักการที่กำ �หนดไว้ ของบริษัทนั้นๆ แต่หากไม่มีหลักการดังกล่าว เอ็กโกสนับสนุนให้นำ �หลักการ กำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจฉบับนี้ไปปรับใช้เท่าที่ไม่ขัดกับ กฎหมายของประเทศที่การร่วมค้าหรือบริษัทร่วมดำ �เนินการอยู่ ขอบเขตการบังคับใช้ การปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ เอ็กโกจัดทำ �หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อเป็นคู่มือให้บุคลากรของกลุ่มเอ็กโกไม่ว่าจะเป็น กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานยึดถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดีในการปฏิบัติหน้าที่ และการดำ �เนินงาน อันจะทำ �ให้กลุ่มเอ็กโกดำ �เนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนบนพื้นฐาน ของการดำ �รงไว้ซึ่งจริยธรรมตลอดไป • คณะกรรมการบริษัท มีหน้าที่กำ �หนดนโยบายและจัดให้ มีการจัดทำ �หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณธุรกิจ เพื่อยึดถือปฏิบัติ และใช้ในการกำ �กับดูแลให้บริษัทมีผลประกอบการที่ดี ในระยะยาว สร้างความน่าเชื่อถือสำ �หรับผู้ถือหุ้นและ ผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย อันจะนำ �มาซึ่งประโยชน์ในการสร้าง คุณค่าอย่างยั่งยืนให้แก่บริษัท
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 15 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมีหน้าที่ • บริหารจัดการให้การปฏิบัติงานของหน่วยงานเป็นไปตาม กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง โดยจัดให้มีระบบการจัดการที่สอดคล้อง กับข้อกำ �หนดทางกฎหมายและกฎระเบียบของบริษัท • ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ • ถ่ายทอดนโยบาย วิธีปฏิบัติ และส่งเสริมให้พนักงานได้รับ การอบรมในด้านการปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการ ที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ • รับฟังความเห็นอย่างเปิดกว้างเกี่ยวกับการปฏิบัติตาม หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจด้วย พนักงานทุกระดับมีหน้าที่ • ทำ �ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ • เมื่อมีข้อสงสัยหรือข้อซักถาม พนักงานสามารถปรึกษากับ ผู้บังคับบัญชา ฝ่ายทรัพยากรบุคคล หรือหน่วยงานที่ บริษัทกำ �หนดให้มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการติดตาม การปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณ ธุรกิจผ่านช่องทางต่างๆ ที่กำ �หนดไว้ • แจ้ง ให้ผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่รับผิดชอบทราบ เมื่อพบเห็นการฝ่าฝืนหรือการไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณ และให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริงต่างๆ กับหน่วยงานหรือบุคคลที่บริษัทได้มอบหมาย
หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจ (ฉบับประมวล พ.ศ. 2565) 16 เมื่อเกิดความไม่แน่ใจว่าสิ่งใด “เป็นสิ่งที่ถูกต้องที่ควรปฏิบัติ” ให้ถามคำ �ถาม 5 ข้อดังต่อไปนี้ หากคำ �ตอบข้อใดข้อหนึ่งของคำ �ถามข้างต้นคือ “ใช่” เป็นไปได้ว่าสิ่งที่ท่านปฏิบัติ หรือไม่ปฏิบัตินั้นอาจเป็นการฝ่าฝืนหรือขัดต่อหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท หรือจรรยาบรรณธุรกิจ อย่างไรก็ตาม หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและจรรยาบรรณธุรกิจฉบับนี้ไม่สามารถ ให้แนวทางที่ครอบคลุมทุกสถานการณ์ หรือให้คำ �ตอบกับทุกคำ �ถามที่อาจเกิดขึ้นได้ จึงจำ �เป็นอย่างยิ่งที่บริษัทจะต้องพึ่งดุลยพินิจของพนักงานที่จะพิจารณาว่าอะไร คือความถูกต้อง รวมถึงรู้ว่าเมื่อใดควรปรึกษาหารือกับผู้อื่น เพื่อให้เกิดแนวทาง การประพฤติที่เหมาะสม การกระทำ �หรือไม่กระทำ �ดังกล่าวฝ่าฝืนกฎหมายของประเทศ กฎหมาย ท้องถิ่น หรือกฎระเบียบใดๆ หรือไม่ ถ้าการกระทำ �หรือไม่กระทำ �ดังกล่าวเป็นที่ล่วงรู้ถึงผู้บังคับบัญชา หรือในหมู่เพื่อนพนักงานจะเกิดความละอายหรือไม่ การกระทำ �หรือไม่กระทำ �ดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต สุขภาพ หรือความปลอดภัยของผู้อื่นหรือไม่ การกระทำ �หรือไม่กระทำ �ดังกล่าวขัดต่อนโยบาย ระเบียบ แนวทาง ปฏิบัติของบริษัทที่อนุมัติไว้หรือไม่ การกระทำ �หรือไม่กระทำ �ดังกล่าวเป็นสิ่งที่ไม่เหมาะสม ไม่ซื่อสัตย์ หรือ ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อภาพลักษณ์ของบริษัทหรือไม่ 1) 2) 3) 4) 5)
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำ �กัด (มหาชน) 17 หลักทั่วไป หลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี จรรยาบรรณ คณะกรรมการบริษัท ภาคผนวก จรรยาบรรณธุรกิจ การต่อต้านคอร์รัปชัน การส่งเสริมและติดตามให้มีการปฏิบัติตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการบริษัทภายใต้ กฎหมายและหลักการกำ �กับดูแล กิจการที่ดี อีกทั้งจรรยาบรรณธุรกิจ เป็นส่วนหนึ่งของข้อบังคับเกี่ยวกับ การบริหารงานบุคคลที่พนักงาน พึงปฏิบัติ ดังนั้น หากมีการละเลย ห รื อ ฝ่ า ฝื น ก า ร ป ฏิ บั ติ ต า ม จรรยาบรรณคณะกรรมการหรือ จรรยาบรรณธุรกิจ ย่อมมีความผิด ทางวินัยและได้รับบทลงโทษตาม ระเบียบบริษัทว่าด้วยข้อบังคับ เกี่ยวกับการบริหารงานบุคคล และ/หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง • ฝ่ายทรัพยากรบุคคล มีหน้าที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ชี้ แ จ ง ใ ห้ พ นั ก ง า น ทราบถึงหน้าที่ในการปฏิบัติตาม หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ และติดตามให้ พนักงานเข้าใหม่ลงนามรับทราบ • ฝ่ายตรวจสอบภายใน มีหน้าที่ ติดตามให้พนักงานลงนามรับรอง การปฏิบัติตามจรรยาบรรณธุรกิจ เป็นประจำ �ทุกปี • ฝ่ายเลขานุการบริษัท มีหน้าที่ รับผิดชอบในการจัดทำ � สื่อสาร หลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดีและ จรรยาบรรณธุรกิจ และทบทวน หรือปรับปรุงให้มีความเหมาะสม เป็นประจำ �อย่างน้อยทุก 2 ปี รวมถึง มีหน้าที่รับผิดชอบชี้แจงให้กรรมการ รับทราบถึงหน้าที่ในการปฏิบัติ ตามหลักการกำ �กับดูแลกิจการที่ดี จรรยาบรรณคณะกรรมการบริษัท และจรรยาบรรณธุรกิจ และส่งมอบ ข้อมูลดังกล่าว ให้แก่กร รมกา ร เข้าใหม่ลงนามรับทราบ บทลงโทษ
RkJQdWJsaXNoZXIy ODg4NTI=